วันศุกร์ที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2560

บันทึกการเรียนครั้งที่ 4

วันที่ 20 เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ 2560






ขั้นตอนการเลือกหน่วย

-สาระที่ควรเรียนรู้
-สิ่งที่ใกล้ตัวเด็กและมีผลกระทบกับเด็ก
-สิ่งที่เด็กสนใจ

กรอบมาตรฐานคณิตศาสตร์

สาระที่ 1 : จำนวนและการดำเนินการ 
สาระที่ 2 : การวัด มาตรฐาน 
สาระที่ 3 : เรขาคณิต มาตรฐาน เรขาคณิต 
                และเข้าใจการเปลี่ยนแปลงรูปเรขาคณิต
                ที่เกิดจากการจัดกระทำ
สาระที่ 4 : พีชคณิต มาตรฐาน 
สาระที่ 5 : การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็นมาตรฐาน 
สาระที่ 6 : ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 
                การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ 

กรอบมาตรฐานวิทยาศาสตร์

ทักษะที่ 1  การสังเกต (Observing)
ทักษะที่ 2  การวัด (Measuring) 
ทักษะที่ 3  การคำนวณ (Using numbers) 
ทักษะที่ 4  การจำแนกประเภท (Classifying) 
ทักษะที่ 5  การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปส 
                 และสเปสกับเวลา 
                 (Using space/Time relationships)
ทักษะที่ 6  การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล                                                (Communication) 
ทักษะที่ 7  การลงความเห็นจากข้อมูล (Inferring) 

ทักษะที่ 8  การพยากรณ์ (Predicting) 

การตั้งสมมุติฐาน

เด็กๆคิดว่าถ้าครูหยดน้ำลงในน้ำมันจะเกิดอะไรขึ้น
ถ้าครูหยดสีลงในไข่ไข่จะเปลี่ยนสีหรือไม่
(สิ่งที่เด็กตอบคือสมมุติฐาน)


นักทฤษฎีการเรียนรู้
 















แต่ละกลุ่มออกมาสาธิตวิธีการสอนของแผนการสอนเคลื่อนไหวและจังหวะ  (วันจัทร์)








assessment (ประเมิน)



Classroom Evaluation =
ห้องเรียนสะอาด เย็นสบาย  มีความเป็นระเบียบ


Self Evaluation =
มาเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียนดี  มีค่อยมีสมาธิในบางช่วง 

Evaluation for classmated =
เพื่อนแต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจเรียน มาเรียนตรงตามเวลามีบางคนมาเรียนสาย แต่กายด้วยชุดนักศึกษาและชุดพละ

Evaluating teacher =
อาจารย์มาสอนตรงเวลา แต่งกายมาสอนเรียบร้อย อธิบายเข้าใจง่าย มีการยกตัวอย่างเป็นรายกลุ่ม



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น