วันศุกร์ที่ 17 มีนาคม พ.ศ. 2560

บันทึกการเรียนครั้งที่ 7

วันที่ 13  เดือนมีนาคม  พ.ศ 2560






การสอนแบบโครงการเป็นการจัดการเรียนการสอนที่มีลักษณะสำคัญดังนี้ ความคิดพื้นฐานเชื่อว่า การเรียนรู้ของเด็กมาจากการกระทำ เด็กเป็นผู้ที่ต้องพัฒนา มีความคิด มีความมุ่งหมาย ความต้องการที่จะเรียนรู้ทำอะไรอย่างใดอย่างหนึ่งเป็นของตนเองต้องพึ่งตนเอง การสอนแบบโครงการมุ่งพัฒนาทางร่างกายและจิตใจของเด็กไปพร้อมกัน วิธีจัดการเรียนการสอนมี 4 ระยะ คือ

ระยะที่ 1 เริ่มต้นโครงการ เด็กจะร่วมกันคิดเรื่องที่สนใจ

ระยะที่ 2 ระยะวางแผนโครงการ เป็นช่วงเวลาที่กำหนดจุดประสงค์ว่าต้องการเรียนรู้อะไร กำหนดขอบเขตเนื้อหา ระยะเวลาและวิธีการศึกษา

ระยะที่ 3 ดำเนินโครงการตามที่กำหนดไว้ ที่เน้นระบวนการแก้ปัญหา จัดเป็นหัวใจของการสอนแบบโครงการ เพราะเด็กจะได้รับข้อมูลใหม่จากประสบการณ์ตรงหรือเป็นแหล่งข้อมูลพื้นฐานเพราะเด็กได้สนทนา พูดคุยกับบุคคล และสืบค้นจากแหล่งเรียนรู้ ขณะเดียวกันเด็กสามารถค้นความรู้จากแหล่งข้อมูลรอง (Secondary Sources) เช่น การดูวีดีทัศน์ การอ่านหนังสือ เป็นต้น

ระยะที่ 4 สรุปโครงการ ครูและเด็กร่วมวางแผนสรุปโครงการ เป็นขั้นตอนการประเมินโครงการ ทบทวนการปฏิบัติ และวางแผนโครงการใหม่ วิธีการสรุปโครงการอาจจะให้เด็กนำผลงานที่ได้รับมอบหมายมาแสดงต่อครูแล้วอภิปรายประเด็นปัญหา หรือให้เด็กนำเสนอผลงาน ในรูปของการจัดแสดง จัดเป็นนิทรรศการ หรือสาธิตผลงาน

 มีกิจกรรมหลักในโครงการ 4 กิจกรรมคือ กิจกรรมสนทนาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในชั้นเรียน กิจกรรมทัศนศึกษา กิจกรรมสืบค้น และกิจกรรมนำเสนอผลงาน

กิจกรรมสืบค้นมีหลากหลายได้แก่ การรวบรวมข้อมูลที่ได้จากการสังเกต การสัมภาษณ์ การปฏิบัติทดลอง การรวบรวมเอกสาร การรายงาน การจัดแสดงผลงานที่ได้จากโครงการ เป็นต้น

 เรื่องที่จะเรียนมาจากความสนใจของเด็กที่ต้องการเรียนอย่างลุ่มลึก เด็กจึงเป็นผู้วางแผนและร่วมคิด ร่วมมือสืบค้นกับผู้อื่น ครูเป็นผู้สนับสนุน สังเกตและอำนวยความสะดวก หากเรื่องนั้นมีความเป็นไปได้ มีแหล่งข้อมูลเพียงพอ พ่อแม่และชุมชนมีความพร้อมที่จะร่วมมือ

ทักษะการเรียนรู้หนังสือจำนวน ให้บูรณาการในหัวเรื่องโครงการ รวมทั้งวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และภาษา ดังนั้น หัวเรื่องหนึ่งที่เด็กสนใจเรียนรู้นั้นต้องมีเวลาอย่างน้อย สัปดาห์และควรสำรวจที่โรงเรียนเหมาะกว่าที่บ้าน






ครูสาธิตวิธีการสอนเสริมประสบการณ์




assessment (ประเมิน)



Classroom Evaluation =
ห้องเรียนไม่ค่อยสะอาด ค่อนข้างมีฝุ่นตามพื้นห้องเยอะ อากาศในห้องเรียนเย็นสะบาย

Self Evaluation =
มาเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียนดี  ไม่ค่อยมีสมาธิในบางช่วง 

Evaluation for classmated =
เพื่อนแต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจเรียน มาเรียนตรงตามเวลามีบางคนมาเรียนสาย แต่กายด้วยชุดนักศึกษาและชุดพละ

Evaluating teacher =
อาจารย์มาสอนตรงเวลา แต่งกายมาสอนเรียบร้อย อธิบายเข้าใจง่าย อาจารย์บอกถึงนิคนิกวิธีการสอนอย่างถูกต้อง บอกจุดที่นักศึกษาใช้คำพูดที่ผิดในการสอน


วันพุธที่ 8 มีนาคม พ.ศ. 2560

บันทึกการเรียนครั้งที่ 6

วันที่ 6 เดือนมีนาคม  พ.ศ 2560




  • ครูให้ส่งขัดลายมือ ก-ฮ
  • ครูให้นักศึกษาแต่ละกลุ่ม ออกมาสอนแผนเคลื่อนไหวและจังหวะ ตั้งแต่วันพุธถึงวันศุกร์
  • ครูให้คำแนะนำของแต่ละแผนอย่างตรงจุด
  • ครูขอดูกิจกรรมศิลปะของแต่ละกลุ่มและแผนเสริมประสบการณ์







assessment (ประเมิน)


Classroom Evaluation =
ห้องเรียนไม่ค่อยสะอาด ค่อนข้างมีฝุ่นตามพื้นห้องเยอะ อากาศในห้องเรียนเย็นสะบาย

Self Evaluation =
มาเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียนดี  ไม่ค่อยมีสมาธิในบางช่วง 

Evaluation for classmated =
เพื่อนแต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจเรียน มาเรียนตรงตามเวลามีบางคนมาเรียนสาย แต่กายด้วยชุดนักศึกษาและชุดพละ

Evaluating teacher =
อาจารย์มาสอนตรงเวลา แต่งกายมาสอนเรียบร้อย อธิบายเข้าใจง่าย อาจารย์บอกถึงนิคนิกวิธีการสอนอย่างถูกต้อง บอกจุดที่นักศึกษาใช้คำพูดที่ผิดในการสอน


วันเสาร์ที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2560

บันทึกการเรียนครั้งที่5

วันที่ 4 เดือนมีนาคม พ.ศ 2560




-ครูให้แต่ละกลุ่มออกมาสอนแผนเคลื่อนไหวและจังหวะให้ครูดู  คือแผน วันอังคารและวันพุธ
-ระหว่างการสอนของแต่ละกลุ่มครูคอยให้คำแนะนำและเทคนิกต่างๆในระหว่างการสอนเพื่อจะได้แก้ไขแต่ละจุดอย่างถูกต้อง













assessment (ประเมิน)


Classroom Evaluation =
ห้องเรียนไม่ค่อยสะอาด ค่อนข้างมีฝุ่นตามพื้นห้องเยอะ อากาศในห้องเรียนเย็นสะบาย


Self Evaluation =
มาเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียนดี  ไม่ค่อยมีสมาธิในบางช่วง 

Evaluation for classmated =
เพื่อนแต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจเรียน มาเรียนตรงตามเวลามีบางคนมาเรียนสาย แต่กายด้วยชุดนักศึกษาและชุดพละ

Evaluating teacher =
อาจารย์มาสอนตรงเวลา แต่งกายมาสอนเรียบร้อย อธิบายเข้าใจง่าย อาจารย์บอกถึงนิคนิกวิธีการสอนอย่างถูกต้อง บอกจุดที่นักศึกษาใช้คำพูดที่ผิดในการสอน

วันศุกร์ที่ 3 มีนาคม พ.ศ. 2560

บันทึกการเรียนครั้งที่ 4

วันที่ 20 เดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ 2560






ขั้นตอนการเลือกหน่วย

-สาระที่ควรเรียนรู้
-สิ่งที่ใกล้ตัวเด็กและมีผลกระทบกับเด็ก
-สิ่งที่เด็กสนใจ

กรอบมาตรฐานคณิตศาสตร์

สาระที่ 1 : จำนวนและการดำเนินการ 
สาระที่ 2 : การวัด มาตรฐาน 
สาระที่ 3 : เรขาคณิต มาตรฐาน เรขาคณิต 
                และเข้าใจการเปลี่ยนแปลงรูปเรขาคณิต
                ที่เกิดจากการจัดกระทำ
สาระที่ 4 : พีชคณิต มาตรฐาน 
สาระที่ 5 : การวิเคราะห์ข้อมูลและความน่าจะเป็นมาตรฐาน 
สาระที่ 6 : ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ 
                การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ 

กรอบมาตรฐานวิทยาศาสตร์

ทักษะที่ 1  การสังเกต (Observing)
ทักษะที่ 2  การวัด (Measuring) 
ทักษะที่ 3  การคำนวณ (Using numbers) 
ทักษะที่ 4  การจำแนกประเภท (Classifying) 
ทักษะที่ 5  การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปส 
                 และสเปสกับเวลา 
                 (Using space/Time relationships)
ทักษะที่ 6  การจัดกระทำและสื่อความหมายข้อมูล                                                (Communication) 
ทักษะที่ 7  การลงความเห็นจากข้อมูล (Inferring) 

ทักษะที่ 8  การพยากรณ์ (Predicting) 

การตั้งสมมุติฐาน

เด็กๆคิดว่าถ้าครูหยดน้ำลงในน้ำมันจะเกิดอะไรขึ้น
ถ้าครูหยดสีลงในไข่ไข่จะเปลี่ยนสีหรือไม่
(สิ่งที่เด็กตอบคือสมมุติฐาน)


นักทฤษฎีการเรียนรู้
 















แต่ละกลุ่มออกมาสาธิตวิธีการสอนของแผนการสอนเคลื่อนไหวและจังหวะ  (วันจัทร์)








assessment (ประเมิน)



Classroom Evaluation =
ห้องเรียนสะอาด เย็นสบาย  มีความเป็นระเบียบ


Self Evaluation =
มาเรียนตรงเวลา ตั้งใจเรียนดี  มีค่อยมีสมาธิในบางช่วง 

Evaluation for classmated =
เพื่อนแต่งกายเรียบร้อย ตั้งใจเรียน มาเรียนตรงตามเวลามีบางคนมาเรียนสาย แต่กายด้วยชุดนักศึกษาและชุดพละ

Evaluating teacher =
อาจารย์มาสอนตรงเวลา แต่งกายมาสอนเรียบร้อย อธิบายเข้าใจง่าย มีการยกตัวอย่างเป็นรายกลุ่ม